GRAPHIC DESINGER

วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

วิธีป้องกันแผลร้อนในในปาก

วิธีรักษา
ให้สังเกตอาหารการกิน ไม่ว่าจะเป็นนมชง หรืออาหารเสริม
ควรกวาดปากเด็กเป็นระยะ สำหรับเด็กเล็ก

วิธีป้องกันไม่ให้เป็นร้อนใน

ร้อนในหรือแผลในปาก เชื่อว่าทุกคนคงเคยเป็นกัน เวลาเป็นแล้วจะเจ็บและรับประทานอะไรก็ลำบาก

วันนี้เกร็ดความรู้มีวิธีป้องกันไม่ให้เป็นร้อนในมาฝากกัน..

1. ระวังอย่าให้ท้องผูก เพราะร้อนในมักจะเป็นร่วมกับท้องผูก

2. หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้ร้อนใน เช่น ของทอด ของมันๆ ขนม น้ำตาล ทุเรียน ลำไย ข้าวเหนียวมะม่วง ฯลฯ อาหารพวกนี้กินแต่เพียงน้อยๆ อย่ากินมาก

3. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเผ็ดร้อน เช่น กระเทียม หอม ขิง ฯลฯ แต่พริกกินได้

4. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ช่วยลดอารมณ์เครียด ความเครียดส่วนมากทำให้เป็นโรคนี้

5. รักษาความสะอาดในช่องปากอย่างเข้มงวด คือ แปรงฟันทุกครั้งหลังจากรับประทานอาหารแล้ว(ถ้าเป็นไปได้ควรใช้ไหมขัดฟันทุกครั้งหลังอาหาร)

6. ดื่มน้ำมากๆ วันหนึ่ง ๆ ให้ได้ 10 แก้วขึ้นไป

7. อย่าอดนอน

8. กินผักและผลไม้มากๆ

ยารักษาร้อนใน ยาแก้ไข้ ตรา เอ
เลขทะเบียนยาที่ G 611/48
สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ร้อนใน เช่น แผลร้อนใน เจ็บคอ ต่อมทอนซิลอักเสบ ลิ้นแตก เหงือกบวม ตกหมอน
ครั่นเนื้อตัว กระทั่งเป็นไข้ แก้อาการหวัดแบบร้อนใน รวมถึง ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ต่างๆ
(เพราะถ้าร่างกายไม่ร้อนใน ก็ทำให้มีภูมิต้านทาน สามารถกำจัดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้)
ถ้าไม่เป็นไข้ แต่มีอาการร้อนในดังกล่าว ก็รับประทานได

แผลร้อนใน Aphthous ulcer แซชือ
     แผลร้อนในนั้นต่างกับแผลเริมที่ปาก โดยแผลเริมเกิดจากเชื้อไวรัส Herpes simplex virus 1 (HSV-1)
(รักษาแผลเริมได้ด้วยการใช้ใบพญายอเพสลาด หมายถึง ใบที่ไม่อ่อนหรือไม่แก่ มาคั้นน้ำแล้วทาแผลเริมวันละ 4-5 ครั้ง)
     ส่วนแผลร้อนในนั้นเกิดจากภาวะการ พร่อง(ซึ่งจะกล่าวต่อไป) โดยแผลร้อนในเป็นแผลที่พบมากบริเวณริมฝีปากด้านใน หรือกระพุ้งแก้ม หรือเหงือก บางรายเกิดแผลร้อนในที่ลิ้น   แผลร้อนในจะเริ่มจากตุ่มเล็กๆ แล้วกลายเป็นวงและมีขนาด
ใหญ่ขึ้น ตรงกลางจะมีเยื่อสีขาวบางๆ ขอบจะบวมแดง และมีอาการปวด มีตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงเส้นผ่าศูนย์กลางหนึ่งนิ้ว บางรายเกิดขึ้นตำแหน่งเดียว บางรายเกิดหลายตำแหน่งพร้อมๆกัน บางรายแผลเก่ายังไม่ทันหายแผลใหม่ก็มาเกิด จะเจ็บมาก
เมื่ออาหารหรือลิ้นไปโดนถูก
     คนจีนแต้จิ๋ว เรียกว่า "แซชือ" แต่ถ้ามีการปูดเป็นก้อนที่ด้านข้างของเหงือก เรียก "ผู่คีเปา" หรือบางครั้งตุ่มเล็กจะ
ไม่กลายเป็นแผลร้อนในแบบเปิด แต่จะปูดเป็นตุ่มใหญ่ขึ้นมาบริเวณใต้ริมฝีปากด้านใน หรือใต้ลิ้น ทำให้ตกใจ
ผู้ที่ไม่รู้ว่าเกิดจากร้อนใน ก็จะไปพบแพทย์เพื่อผ่าตัดออก
สาเหตุของแผลร้อนใน     จริงๆแล้ว แผลร้อนใน ไม่ได้เกิดจากเชื้อใดๆ แต่แผลร้อนในหรืออาการร้อนในเกิดจากคนที่มี
ภาวะอิน(ยิน,หยิน)พร่อง แล้วมีพฤติกรรมที่ทำให้หยางแกร่ง เช่น รับประทานอาหารเผ็ด ของทอด-อบ-กรอบ ผลไม้บางชนิด
จึงเกิดความไม่สมดุลระหว่างอิน-หยาง ทำให้แสดงออกมาเป็นอาการร้อนใน  เมื่อร่วมกับการนอนดึก หรืออดนอน
ก็จะเกิดแผลร้อนใน บางรายอาจมีอาการร้อนในอื่นๆ เช่น เจ็บคอ ลิ้นแตก เหงือกบวม เป็นไข้ ร่วมด้วย หรือหายจากเป็นไข้ แล้วมีแผลร้อนในขึ้นมา
      บางท่านอาจคิดว่า แผลร้อนใน เกิดจากการกัดถูกกระพุ้งแก้มหรือลิ้นของตัวเอง แต่ความจริงแล้วเกิดจากร้อนใน
เพราะเมื่อร้อนใน กระพุ้งแก้มก็หนาตัวขึ้นหรือลิ้นจะมีการพองตัวมากขึ้น จึงไปกัดถูก ถ้าหากว่าเป็นแผลที่ไม่ได้มีอาการ
ร้อนใน เพียงแค่ 1-2 วันก็จะหายเป็นปกติ แต่เมื่อร่างกายร้อนใน แผลนั้นก็ไม่ค่อยหาย แล้วยังขยายใหญ่ขึ้นเป็นแผลร้อนใน
     ร้อนในมีหลากหลายอาการแล้วแต่ว่าจะเกิดกับอวัยวะส่วนไหน เช่น เส้นที่คอตึง ตกหมอน มีขี้ตา ตาแฉะ ระคายเคืองตา
บางครั้งน้ำตาไหลเอง หรือมีเม็ดที่ตาคล้ายตากุ้งยิง มีเสมหะ ไอ เจ็บคอ ต่อมทอนซิลอักเสบ(Tonsillitis) ปากเป็นแผลร้อนใน
เหงือกบวม ลิ้นแตก ในปากมีตุ่มปูด ปัสสาวะกะปริบกะปรอย ท้องผูก อุจจาระแข็ง-ดำ (ระบบทางเดินอาหารไม่มีเลือดออก)
แต่บางครั้งก็ถ่ายเหลวและมีลม บางทีก็ร้อนในในหลายส่วนพร้อมกัน ทำให้มีหลายอาการพร้อมกัน
รวมถึงเป็นต้นเหตุของอาการไข้หวัด เพราะเมื่อร้อนใน ภูมิต้านทานก็ลดลง
อาการเหล่านี้แต่ละคนจะไว(Sensitive)ไม่เท่ากัน เนื่องจากดุลยธาตุ(อิน-หยาง)ของแต่ละคนไม่เท่ากัน
การรักษาอาการร้อนใน แผลร้อนใน
  • ห้ามรับประทานยาบำรุง เช่น เขากวางอ่อน โสมคน(หยิ่งเซียม)   ยาที่มีฤทธิ์ร้อน เช่น พริกไทย ดีปลี อบเชย(ชินนามอน)
  • งดอาหารที่ทอดน้ำมัน อาหารรสเผ็ด อาหารหวานจัด หรือขนมบางอย่างเช่น คุ้กกี้ ขนมกรอบๆ หรือเบียร์บางยี่ห้อ
    ผลไม้บางชนิด เช่น ลำไย ทุเรียน เงาะ ขนุน ลิ้นจี่ ละมุด มะม่วงสุก รวมถึงข้าวเหนียว
    (แต่ละคนไวต่ออาหารไม่เหมือนกัน)
  • สำหรับเด็กที่ดื่มนมชง ให้สังเกตนมชงด้วย เพราะนมแต่ละยี่ห้อ มีสูตรที่ไม่เหมือนกัน บางสูตรทำให้ร้อนใน
  • นอนหลับให้เต็มที่ ดื่มน้ำให้มากขึ้นในกรณีที่ดื่มน้ำน้อย
  • รักษาอาการร้อนในหรือแผลร้อนใน โดยการรับประทานยาแก้ไข้ ตรา เอ ซึ่งแก้อาการร้อนในได้ดีมาก
    ถ้า รู้สึกว่าแผลร้อนในกำลังจะเกิดขึ้น หรือเริ่มมีอาการร้อนใน ให้รีบรับประทานยา จะทำให้แผลร้อนในไม่เกิดขึ้นมา หรืออาการร้อนในหายได้เร็ว
  • การรับประทานยาแก้ไข้ ตรา เอ รับประทานเมื่อมีอาการร้อนใน เมื่อหายร้อนในก็หยุดรับประทาน สลับกันไปเรื่อยๆ
    ในระยะยาว จะทำให้อาการร้อนในเป็นน้อยลงหรือไม่เป็นขึ้นมา เพราะในยาแก้ไข้ ตรา เอ มีตัวยาที่เสริมอิน ทำให้
    ร่างกายผู้ที่พร่องอินได้สมดุล
อาการหวัดแบบร้อนใน หมายถึง
     อาการหวัดที่เริ่มต้นด้วยการร้อนใน เช่น เจ็บคอ ครั่นเนื้อครั่นตัว เป็นไข้ ริมฝีปากแดง ลิ้นแดง
น้ำมูกไหล เป็นหวัด มีเสมหะ(เป็นสีเขียวก็ได้)
ตกหมอน
     เมื่อเกิดอาการตกหมอน ให้รับประทานยาแก้ไข้ ตรา เอ และ ยากษัยเส้น ตรา เอ โดยรับประทานชนิดใดก่อนก็ได้
อีกสักประมาณ 1 ชม. ก็รับประทานอีกชนิดตาม
คำแนะนำสำหรับการใช้ยาแก้ไข้ ตรา เอ
-งดอาหารที่ทำให้ร้อนในดังที่กล่าวมา
-ควรพักผ่อนให้เพียงพอและรับประทานยาแต่เนิ่นๆ จะรักษาอาการร้อนใน หรือ แผลร้อนใน ให้หายได้เร็ว
-ผู้ใหญ่อายุ 12 ปีขึ้นไป รับประทานครั้งละ 2-4 เม็ด ถ้าเป็นไข้หนัก สามารถรับประทานครั้งละ 4 เม็ด ทุกๆ 3 ชั่วโมง
ถ้ามีแผลร้อนในมาก หรือมีอาการร้อนในหนัก รับประทานครั้งละ 4 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ และใช้เวลา
รักษานานกว่าปกติ(สามารถรับประทานติดต่อกันได้ ไม่อันตราย)
-เด็กอายุ 4-11 ขวบ รับประทานครั้งละ 1-2 เม็ด ถ้ากลืนยาไม่ได้ให้นำเม็ดยามาบดผสมน้ำผึ้งน้ำมะนาวแล้วกลืนและดื่มน้ำตาม
วันละ 3-4 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้
-ยาแก้ไข้ ตรา เอ ไม่ทำให้ง่วงนอน และไม่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร(ไม่กัดกระเพาะอาหาร)
ยาเม็ดทุกตำรับ บรรจุในแผงอลูมิเนียมฟอยล์ (Strip pack)

ข้อดี คือ
  • ป้องกันความชื้นและเชื้อจุลินทรีย์เข้าสู่เม็ดยา
    โดยทั่วไปในบรรยากาศจะมีทั้งความชื้นและเชื้อจุลินทรีย์
    หากเป็นยาที่ใส่ขวด เมื่อเปิดขวดแล้ว ยาจะมีการปนเปื้อนของเชื้อ
    ความชื้นในบรรยากาศ ทำให้เชื้อจุลินทรีย์เจริญเติบโต
    ซึ่งเชื้อจุลินทรีย์บางชนิดจะสร้างสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
  • พกพาสะดวก สำหรับผู้ที่ต้องเดินทาง
  • ป้องกันไม่ให้ยาเสื่อมคุณภาพจากแสงสว่าง
ยาเม็ดทุกตำรับ เป็นยาตอกเม็ด (Tablet)
ข้อดี คือ
  • ปราศจากวัตถุกันเสีย
    เนื่องจากยาที่บรรจุแคปซูล ส่วนของเปลือกแคปซูลทำมาจากเจลาติน
    ซึ่งเจลาตินก็ทำมาจากกระดูกหรือหนังสัตว์ จึงเป็นแหล่งอาหารของ
    เชื้อจุลินทรีย์   ดังนั้นผู้ผลิตเปลือกแคปซูลจำเป็นต้องใส่วัตถุกันเสีย และถ้าหากผู้ผลิตเปลือกแคปซูลใช้เจลาตินที่ไม่สะอาด ก็จะต้องใส่
    วัตถุกันเสียเกินมาตรฐาน ซึ่งเป็นอันตรายกับผู้บริโภค
  • ลดความเสี่ยงที่จะติดเชื้อบางชนิด
    เนื่องจากเจลาตินทำมาจากกระดูกหรือหนังสัตว์ เช่น วัว หมู
    จึงมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อบางชนิด เช่น เชื้อวัวบ้า และขัดกับหลักของผู้ที่รับประทานเจ หรือมังสวิรัติ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น